2554-02-19
ประวัติของคนน่ารัก
ชื่อ โสรยา
สกุล กีละ
แฟนเรียก D'ยา
เพื่อนเรียก ยาย่า
เบิดเดย์ 20 ธันวา 2538
การศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยา
สีที่ชอบ สีฟ้า
อาหารจานเด็ด เนื้อย่างเกาหลี
กีฬาที่ชอบ วอลเล่บอล
วิชาที่ชอบ อังกฤษ ( speak english โคตรเก่ง )
ความสามารถพิเศษ เต้นค่ะ
งานอดิเรก ฟังเพลง/คุยโม้/นอน/กิน
ความฝัน แอฮอสเตจ
คติ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น
ประวัติของฉัน
แม่ตั้งให้ นูรียะห์
ยืมพ่อชั่วคราว สือนิ
เพื่อนเรียก นา
รู้แล้วอย่าลืม 26 พฤศจิกายน 2538
ที่หลบฝน 41/1 ม.2 ต.ปะแต อ.ยะหา จ.ยะลา
งานอดิเรก ฟังเพลง/กินไม่เลือก
สีที่ชอบ สีแดง
อาหารที่ชอบ ผัดเผ็ดปลาดุก
กีฬาสุดโปรด เปตอง
ความสามารถพิเศษ วาดรูป
อนาคต ตำราจหญิง
..................^_^ ^_^..................
ยืมพ่อชั่วคราว สือนิ
เพื่อนเรียก นา
รู้แล้วอย่าลืม 26 พฤศจิกายน 2538
ที่หลบฝน 41/1 ม.2 ต.ปะแต อ.ยะหา จ.ยะลา
งานอดิเรก ฟังเพลง/กินไม่เลือก
สีที่ชอบ สีแดง
อาหารที่ชอบ ผัดเผ็ดปลาดุก
กีฬาสุดโปรด เปตอง
ความสามารถพิเศษ วาดรูป
อนาคต ตำราจหญิง
..................^_^ ^_^..................
ปา หวัด ส่วน ตัว
ชื่อ อาดีละห์ เจ๊ะซู
ชื่อเล่น ละห์
อายุ 15 ปี
ว.ด.ป.เกิด 7 กันยายน 2538
ที่อยู่ 29/5 ม.3 ต.เปาะเส้ง อ.เมือง จ.ยะลา
จบป.6 จากร.ร บ้านตลาดลำใหม่
ปัจจุบัน ศึกษาอยู่ชั้นม.3
โรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยา
งานอดิเรก เล่นกีฬา
วิชาที่ชอบ ศิลปะ
อาหารที่ชอบ ต้มยำกุ้ง
ผลไม้ที่ชอบ องุ่น
สัตว์ที่ชอบ แมว
ความสามารถพิเศษ วาดรูป
อนาคต พยาบาล
คติ ข้าพเจ้าเป็นคนที่เดินช้า แต่ไม่มีวันถอยหลัง
ชื่อเล่น ละห์
อายุ 15 ปี
ว.ด.ป.เกิด 7 กันยายน 2538
ที่อยู่ 29/5 ม.3 ต.เปาะเส้ง อ.เมือง จ.ยะลา
จบป.6 จากร.ร บ้านตลาดลำใหม่
ปัจจุบัน ศึกษาอยู่ชั้นม.3
โรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยา
งานอดิเรก เล่นกีฬา
วิชาที่ชอบ ศิลปะ
อาหารที่ชอบ ต้มยำกุ้ง
ผลไม้ที่ชอบ องุ่น
สัตว์ที่ชอบ แมว
ความสามารถพิเศษ วาดรูป
อนาคต พยาบาล
คติ ข้าพเจ้าเป็นคนที่เดินช้า แต่ไม่มีวันถอยหลัง
2554-02-16
ใต้ ความทรงจำ
ดุซงญอ กรือเซะ ตากใบ และการยอมรับความจริงในสังคมไทย
ท่านวิทยากรได้บรรยายประกอบภาพวิดีทัศน์ถึงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ความรุนแรงระหว่างขบวนการของชาวมลายูมุสลิมกับเจ้าหน้าที่รัฐไทยในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย (ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส) ทั้งที่หมู่บ้านดุซงญอ เมื่อปี ๒๔๙๑ ที่มัสยิดกรือเซะ จังหวัดปัตตานี และหน้าที่ว่าการอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เมื่อปี ๒๕๔๗ ดังต่อไปนี้
๑.เหตุการณ์ที่หมู่บ้านดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส (พ.ศ.๒๔๙๑)
หะยี มุฮัมหมัดสุหลง อับดุลกาแลร์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ “หะยีสุหลง”
เมื่อปี ๒๔๙๑ หลังจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ ได้เกิดขบวนการคอมมิวนิสต์มลายา (โจรจีนคอมมิวนิสต์) ตามบริเวณพรมแดนไทย – มลายาของอังกฤษ เพื่อต่อต้านการปกครองของอังกฤษ มีกองโจรสายหนึ่งได้ล่วงล้ำเข้ามาในดินแดนไทยจนถึงเขตตำบลจะแนะ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส และพยายามขอความร่วมมือกับชาวบ้านในท้องที่นี้ แต่ชาวบ้านปฏิเสธ ขบวนการนี้จึงแสดงท่าทีทีท่าคุกคามชาวบ้าน โดยที่ทางราชการไทยไม่ได้ใส่ใจที่จะให้ความคุ้มครองแก่ประชาชนในท้องถิ่นนี้เท่าที่ควร ชาวบ้านจึงต้องจัดกำลังอาวุธคุ้มครองตัวเอง ต่อมาเกิดเหตุวิวาทส่วนบุคคลระหว่างคนในท้องที่กับคนต่างถิ่น ทางอำเภอระแงะได้เข้าสืบสวนเหตุการณ์จนทราบถึงกำลังติดอาวุธของชาวบ้าน โดยในช่วงเวลาใกล้เคียงกันนี้ได้มีเหตุการณ์จับกุมหะยี มุฮัมหมัดสุหลง อับดุลกาแลร์ หรือที่รู้จักกันในชื่อ “หะยีสุหลง” ในข้อหากบฏแบ่งแยกดินแดน ทางผู้ปกครองอำเภอระแงะจึงเข้าใจว่ากองกำลังนี้เป็นกำลังสนับสนุนกบฏของหะยีสุหลง ดังนั้นจึงได้มีการส่งเจ้าหน้าที่เข้าปราบปราม ณ บ้านดุซงญอ ในวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๔๙๑ จากการปะทะมีชาวบ้านเสียชีวิต ประมาณ ๓๐ คน เจ้าหน้าที่ตำรวจเสียชีวิต ๕ นาย และหลังจากเหตุการณ์นี้ชาวบ้านจึงได้อพยพไปอยู่ในมลายาของอังกฤษ (ปัจจุบันเป็นประเทศมาเลเซีย) ประมาณ ๖,๐๐๐ คน และสืบลูกหลานที่นั่นโดยไม่กลับมาในฝั่งประเทศไทยอีกเลย จากเหตุการณ์นี้ทางรัฐบาลไทยได้ตั้งคณะกรรมการสอบสวนความจริงในเรื่องนี้ ปรากฏว่าเป็นการเข้าใจและการสื่อสารที่ผิดพลาดของเจ้าหน้าที่รัฐไทย แต่ไม่ปรากฏว่ามีการลงโทษผู้กระทำผิดพลาดแต่อย่างใด
ภาพภายหลังเหตุการณ์ที่มัสยิดกรือเซะ
หลังจากเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ตั้งแต่ต้นปี ๒๕๔๗ ทางรัฐบาลได้มีมติจัดตั้งชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) โดยที่เจ้าหน้าที่รัฐจะฝึกอาวุธและให้ชรบ.แต่ละหน่วยจะมีอาวุธปืนหน่วยละ ๑๕ กระบอก เพื่อให้ชาวบ้านสามารถคุ้มครองรักษาตนเองได้จากกลุ่มผู้ก่อการร้าย
ภาพการจับกุมจากการสลายม็อบ
เหตุการณ์สำคัญ....เมื่อวันวาน
เหตุการณ์สำคัญ ณ กบฏ ดุซงญอ เป็นเหตุการณ์การปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐบาลไทย กับกลุ่มประชาชนชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู ระหว่าง 25 - 28 เมษายน พ.ศ. 2491 ที่ หมู่บ้านดุซงญอ ตำบลจะแนะ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส ทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากทั้งสองฝ่าย หลังจากเหตุการณ์ผ่านไป มีการสร้างอนุสาวรีย์ลูกปืนเพื่อรำลึกถีงเหตุการณ์นี้ แต่อนุสาวรีย์นี้ไม่เป็นที่รู้จักมากนัก ซึ่งเหตุการณ์กบฏนี้ ครบรอบ 56 ปี เมื่อเกิดเหตุการณ์ กรณีกรือเซะ 2547 ในวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2547จนมีผู้เสียชีวิต 108 ศพ
สาเหตุเกิดจาก ความไม่พอใจรัฐบาลไทยของชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู เริ่มขึ้นจากการยกเลิกระบบสุลต่านหรือเจ้าผู้ครองนครมาเป็น ระบบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 และทวีความรุนแรงขึ้นในสมัยปฏิวัติวัฒนธรรมที่ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี รวมทั้งความอดอยากในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ราษฎรที่นับถือศาสนาอิสลาม เห็นว่าพวกตนไม่ได้รับการดูแลเท่าเทียมกับราษฎร ที่นับถือศาสนาพุทธ นอกจากนี้ยังมีแรงหนุนจากภายนอก โดยอังกฤษสนับสนุน ตนกู มะไฮยิดดิน อับดุลกาเดร์ บุตรของรายาปัตตานีองค์สุดท้ายให้แยกตัวออกจากไทย เพื่อแก้แค้นที่ไทยหันไป ร่วมมือ กับญี่ปุ่น แกนนำในการต่อต้านรัฐบาลยุคนั้น คือ หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ ซึ่งมีบทบาทในการคัดค้านการตั้งดะโต๊ะยุติธรรม เรียกร้องให้แยกศาลศาสนา และเสนอ คำขอ 7 ข้อต่อรัฐบาล หะยีสุหลง ถูกจับด้วยข้อหากบฏ เมื่อ 16 มกราคม พ.ศ. 2491 ซึ่งสร้างความไม่พอใจแก่ราษฎรอย่างกว้างขวาง
เหตุการณ์ในพื้นที่
การรวมกลุ่มของชาวไทยเชื้อสายมลายูในยุคนั้นมีอยู่ด้วยกัน 2 สาเหตุ อย่างแรกคือ ไม่พอใจนโยบายรัฐบาลที่รู้สึกว่าเป็นการกดขี่พวกเขา อย่างที่สองคือ รวมตัวกันต่อสู้กับ โจรจีนคอมมิวนิสต์มลายา ที่มักข้ามแดนมารังควานชาวไทยกลุ่มนี้เป็นประจำ ซึ่งพวกเขาไม่กล้าขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่รัฐเพราะมีความระแวงกันอยู่เป็นทุนเดิม ความระแวงซึ่งกันและกันนี้เป็นให้เกิดความรุนแรงขึ้นในที่สุด ทั้งโดยความเข้าใจผิดและถูกยุยงจากผู้ไม่หวังดี
- 24 เมษายน 2491 เจ้าหน้าที่รัฐได้รับรายงานว่า หะยีสะแมงฟันนายบุนกี (จีนเข้ารีตอิสลาม) ได้รับบาดเจ็บสาหัส
- 25 เมษายน 2491 ตำรวจและเจ้าพนักงานฝ่ายปกครองรวม 4 นาย เข้าไปตรวจเหตุการณ์ในหมู่บ้าน ถูกพวกก่อการจลาจลราว 30 คนถือดาบไล่ฟัน จนต้องหนีออกจากหมู่บ้าน
- 26 เมษายน 2491 ตอนเช้า ตำรวจราว 28 นาย ยกเข้ามาที่ตลาดดุซงญอ และส่งตำรวจ 4 นาย ไปเป็นกองล่อให้ฝ่ายจลาจลแสดงตัว ผลปรากฏว่าฝ่ายจลาจลมีกำลังมากกว่า ฝ่ายตำรวจต้องล่าถอย ตำรวจที่เป็นกองล่อทั้ง 4 นายเสียชีวิตทั้งหมด ตอนค่ำ กำลังตำรวจจากจังหวัดใกล้เคียงคือ จ.ยะลา 20 นาย จ.ปัตตานี 30 นาย อ.สุไหงปาดี 8 นาย ยกมาสมทบและรวมกำลังกันที่ตำบลกรีซา 1 คืน
- 27 เมษายน 2491 กำลังตำรวจจากจ.สงขลาอีก 20 นาย มาถึง ต.กรีซา เริ่มยกพลเข้าหมู่บ้านดุซงญอ ปะทะกับพวกจลาจล ยิงโต้ตอบกันราว 3 ชั่วโมง ฝ่ายตำรวจจึงล่าถอย ระหว่างถอย ถูกฝ่ายจลาจลยิงเสียชีวิต 1 นาย
- 28 เมษายน 2491 กำลังตำรวจเข้าโจมตีหมู่บ้านดุซงญออีกครั้ง และปราบปรามฝ่ายจลาจลได้เด็ดขาด
ข้อมูลจากชาวบ้านดุซงญอ ที่อยู่ในเหตุการณ์เล่าว่า ชาวบ้านส่วนหนึ่งขึ้นไปรวมตัวบนเขาเพื่อประกอบพิธีทางไสยศาสตร์ให้อยู่ยงคงกระพัน เพื่อต่อสู้กับโจรจีนคอมมิวนิสต์ ในกลุ่มนี้ส่วนหนึ่งเป็นคนหนุ่มที่หนีการเกณฑ์ทหาร เพราะเชื่อว่าถ้าเป็นทหารเกณฑ์แล้วต้องถูกบังคับให้ไหว้พระพุทธรูป เจ้าหน้าที่ตำรวจขึ้นไปตามตัวชาวบ้านบนเขาให้ลงมา แต่ชาวบ้านไม่ยอม ขับไล่ตำรวจลงมา ตำรวจจึงรวมกลุ่มกันขึ้นไปยิงชาวบ้านบนเขา ชาวบ้านจึงหนีลงมารวมตัวกันที่สุเหร่าและบ้านของโต๊ะเปรัก ก่อนจะถูกตำรวจยกพลเข้ามาปราบ
อนุสาวรีย์ลูกปืน
อนุสาวรีย์ลูกปืนเป็นอนุสาวรีย์ที่สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์กบฏดุซงญอแต่ไม่เป็นที่รู้จักกันมากนัก ตั้งอยู่ภายในบริเวณสถานีตำรวจภูธรอำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส สร้างเป็นรูปลูกกระสุนปืน ตั้งอยู่บนฐานทรงกลม 3 ชั้น สูง 36, 30, และ 30 เซนติเมตรตามลำดับจากล่างขึ้นบน ตัวกระสุนปืนมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 34 เซนติเมตร ส่วนปลอกกระสุนสูง 150 เซนติเมตร มีช่องสี่เหลี่ยมในส่วนใกล้หัวกระสุนซึ่งสูง 25 เซนติเมตร รวมความสูงของกระสุนปืน 245 เซนติเมตร กล่าวกันว่ามีการบรรจุกระดูกของตำรวจที่เสียชีวิตในเหตุการณ์กบฏดุซงญอไว้ภายใน
เหตุการณ์เมื่อวันวาน
เหตุการณ์สำคัญอำเภอตากใบ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ในอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 85 คน
เหตุการณ์ เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อชายท้องถิ่นหกคนถูกจับกุม และได้มีการเดินขบวนเรียกร้องให้มีการปล่อยตัวทั้งหกคนดังกล่าว และตำรวจได้เรียกกำลังเสริมจากกองทัพ หลังจากผู้เดินขบวนบางคนได้ขว้างปาก้อนหินและพยายามปิดล้อมสถานีตำรวจแล้ว เจ้าหน้าที่ความมั่นคงได้ใช้แก๊สน้ำตาและยิงตอบโต้
ประชาชนท้องถิ่นหลายร้อนคน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชายวัยรุ่น ได้ถูกจับกุม กลุ่มคนเหล่านี้ถูกถอดเสื้อ ผูกมือไพล่ติดกับหลัง และถูกจัดท่าให้นอนราบลงกับพื้น คลิปวิดีโอได้แสดงภาพทหารเตะและทุบตีประชาชนที่ถูกจับมัดไว้เรียบร้อยแล้วและนอนอยู่บนพื้นโดยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ต่อมาในช่วงบ่ายวันเดียวกัน ผู้ที่ถูกจบกุมถูกทหารโยนเข้าไปในรถบรรทุกซึ่งจะนำไปส่งยังค่ายทหารในจังหวัดปัตตานี ผู้ที่ถูกจับกุมนอนทับกันถึงห้าหรือหกชั้นในรถบรรทุก และเมื่อรถบรรทุกดังกล่าวมาถึงค่ายทหารในอีกสามชั่วโมงถัดมา หลายคนก็เสียชีวิตไปแล้วเนื่องจากขาดอากาศหายใจ
รายงานอ้างว่ามีผู้เสียชีวิต 7 คนจากบาดแผลกระสุนปืน ส่วนที่เหลือเชื่อกันว่าเสียชีวิตเนื่องจากขาดอากาศหายใจหรือถูกทุบตี
ผลที่ตามมา เหตุการณ์ดังกล่าวจุดประกายให้เกิดการประท้วงอย่างแพร่หลายทั่วประเทศ วีซีดีซึ่งจัดทำโดยกลุ่มมุสลิม ได้แสดงให้เห็นถึงภาพเหตุการณ์เช่นเดียวกับเสียง วีซีดีเหล่านี้ได้ถูกส่งเวียนไปตามกลุ่มมุสลิมในประเทศไทย รัฐบาลกล่าวว่าเป็นการผิดกฎหมายในการครอบครองวีซีดีดังกล่าวและกล่าวว่ารัฐบาลสามารถฟ้องร้องผู้ที่มีไว้ในครอบครองได้
ไม่นานหลังจากเหตุการณ์ ปฏิกิริยาแรกของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร คือ การปกป้องการกระทำของกองทัพ และกล่าวว่าชายเหล่านี้เสียชีวิต "เพราะพวกเขายังอ่อนแอจากการอดอาหารระหว่างเดือนรอมฎอน
กระทั่งวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549 ไม่มีสมาชิกกองกำลังความมั่นคงที่มีส่วนรับผิดชอบถูกนำมาเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมต่อมา นายกรัฐมนตรี สุรยุทธ์ จุลานนท์ กล่าวแสดงความขอโทษอย่างเป็นทางการต่อเหตุการณ์ดังกล่าว
เหตุการณ์ในวันนั้น กรือเซะ
เหตุการณ์สำคัญที่จังหวัดปัตตานี เหตุการณ์ที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อกรณีมัสยิดกรือเซะเป็นเหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2547 บริเวณมัสยิดกรือเซะ ตำบลตันหยงลูโละ อำเถอเมือง จังหวัดปัตตานี มัสยิดกรือเซะเป็นโบราณสถานและมัสยิดเก่าแก่ของจังหวัดปัตตานี ความรุนแรงในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยดำเนินมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ปล้นปืนในค่ายกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2547 ซึ่งเหตุการณ์มัสยิดกรือเซะเป็นหนึ่งในเหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องดังกล่าว
ความเป็นมา ก่อนเหตุการณ์ที่มัสยิดกรือเซะในวันที่ 28 เมษายน 2547 นั้น ได้มีการเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ก่อการก่อนหน้านั้น โดยในวันที่ 26 เมษายน 2547 กลุ่มคนประมาณ 30 คนได้ประชุมวางแผนเตรียมการโจมตีจุดตรวจมัสยิดกรือเซะที่บ้านนายฮามะ สาและ ซึ่งตั้งอยู่ที่ ควนโนรี อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี โดยมีบุคคลระดับแกนนำเข้าร่วมประชุมหลายคนที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ความไม่สงบในหลายพื้นที่ในเขตจังหวัดปัตตานี ในวันที่ 28 เมษายน 2547
ในระหว่างการประชุมเตรียมการได้มีการกำหนดพื้นที่โจมตีหลายจุด ซึ่งรวมถึงจุดตรวจมัสยิดกรือเซะด้วย
ลำดับเหตุการณ์
วันที่ 27 เมษายน 2547 เวลาประมาณ 15.00 น. กลุ่มบุคคลประมาณ 30 คนแต่งกายในลักษณะบุคคลทั่วไปที่เดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจ ได้เดินทางโดยรถกระบะและรถเก๋ง พร้อมด้วยกระเป๋าสัมภาระไปยังมัสยิดกรือเซะ และได้นำกระเป๋าสัมภาระเข้าไปไว้ในมัสยิด ต่อมาเวลาประมาณ 17.00 ถึง 20.00 น. กลุ่มบุคคลดังกล่าวได้ทำละหมาดร่วมกัน โดยอุสต๊าซโซ๊ะได้พูดปลุกระดมให้มุ่งมั่นในการปฏิบัติการประกาศเอกราช และได้ทำการนัดหมายอีกครั้งว่า จะโจมตีจุดตรวจกรือเซะในเวลา 05.00 น. ของวันที่ 28 เมษายน 2547 เพื่อแย่งชิงอาวุธปืนของเจ้าหน้าที่และให้หลบหนีเข้าไปซ่อนตัวอยู่ภายในมัสยิด
เวลาประมาณ 20.00-20.30 น. กลุ่มชายประมาณ 20 คนแต่งกายในชุดดะอ์วะฮ์ได้เข้าไปรับประทานอาหารที่ร้านชื่อ “มะกาแม” ซึ่งตั้งอยู่ทางด้านข้างมัสยิดทางทิศเหนือ ซึ่งคนกลุ่มดังกล่าวเดินทางมาจากสถานที่ต่างๆ กัน จากจังหวัดสงขลาและจังหวัดยะลา เวลาประมาณ 23.00 น. ได้มีชาย 2 คน ออกมาจากมัสยิด และนำรถจักรยานยนต์ขี่วนเวียนไปมาตามเส้นทางระหว่างมัสยิดและจุดตรวจกรือเซะ และหลังจากที่ได้กลับเข้าไปในมัสยิดแล้วชายทั้งสองก็ไม่ได้ออกมาจากมัสยิดอีก
เช้าตรู่วันที่ 28 เมษายน 2547 เวลาประมาณ 02.30 น. กลุ่มบุคคลที่เดินทางไปยังมัสยิดเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2547 ประมาณ 15-18 คนได้ออกมานั่งรวมกลุ่มกันที่ลานหน้ามัสยิดด้านทิศตะวันออก โดยคนในกลุ่มได้พูดคุยและแสดงท่าทางในลักษณะของการวางแผน โดยคนอีกกลุ่มจำนวน 6-8 คน ได้รวมกลุ่มกันที่ระเบียงทางขึ้นมัสยิดด้านทิศใต้ จากนั้นได้มีรถกระบะไม่ทราบยี่ห้อ สีน้ำเงินดำได้แล่นเข้ามาจอดบริเวณมัสยิดและมีกลุ่มบุคคลจำนวนหนึ่งลงมาจากรถโดยบางคนแต่งกายชุดดะอ์วะฮ์เดินเข้าไปในมัสยิด
เวลาประมาณ 04.50 น. มีกลุ่มบุคคลที่มัสยิดประมาณ 30 กว่าคนได้แยกออกเป็น 2 กลุ่มกลุ่มละประมาณเกือบ 20 คน โดยกลุ่มที่หนึ่งเดินทางไปทางถนนด้านสถานีอนามัย อีกกลุ่มหนึ่งเดินไปทางถนนด้านทิศเหนือฝั่งเดียวกับที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลูโละมุ่งหน้าไปทางจุดตรวจกรือเซะ
ต่อมากลุ่มบุคคลประมาณ 32 คน ได้เดินมุ่งไปยังจุดตรวจกรือเซะฝั่งป้อมยามด้านสุสานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว ขณะเดียวกันนั้น สิบตำรวจเอก อันวาร์ เบ็ญฮาวัน สังกัดกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดน 444 ซึ่งปฎิบัติหน้าที่อยู่ ณ จุดตรวจฯ ได้รับแจ้งเตือนจากทหารจำนวน 3 คนที่วิ่งมาจากจุดตรวจฝั่งสถานีอนามัยว่าให้ระวังกลุ่มบุคคลดังกล่าวด้วย และต่อมาทหารที่เหลืออยู่อีก 1 คน ที่อยู่ ณ จุดตรวจได้ถูกฟันทำร้ายจนได้รับบาดเจ็บ
กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบดังกล่าว ได้โจมตีป้อมตำรวจที่อยู่ใกล้ๆ กับมัสยิดกรือเซะ และได้มีการปะทะกับเจ้าหน้าที่ตำรวจทหาร ผลจากการปะทะทำให้เจ้าหน้าที่ตำรวจและทหารเสียชีวิต 3 นาย และบาดเจ็บ 17 นาย
หลังจากนั้นกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบทั้ง 32 คน ได้หลบหนี้เข้าไปภายในมัสยิดกรือเซะ พลเอก พัลลภ ปิ่นมณี รองผอ.กอ.รมน. ได้เดินทางไปถึงที่เกิดเหตุ มีประชาชนประมาณ 2,000-3,000 คน รวมตัวกันอยู่ที่บริเวณมัสยิด
เจ้าหน้าที่ปิดล้อมมัสยิดอยู่นานราว ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 06.00 น. ถึง 14.00 น.
ทางตำรวจทหารตัดสินใจบุกเข้าไปในมัสยิด ใช้ระเบิดมือและอาวุธ จนเป็นเหตุให้กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบที่อยู่ภายในมัสยิดทั้ง 32 คนเสียชีวิต
ผลกระทบจากเหตุการณ์ ข่าวการบุกเข้าไปสังหารกลุ่มบุคคลภายในมัสยิดกรือเซะแพร่กระจายไปทั่วโลก ซึ่งก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์เจ้าหน้าที่รัฐถึงการกระทำปราบปรามเกินกว่าเหตุ ดังนั้นเพื่อแสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น รัฐบาลจึงได้ตั้งคณะกรรมการอิสระไต่สวนข้อเท็จจริงกรณีมัสยิดกรือเซะ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 104/2547 ลงวันที่ 4 พฤษภาคม 2547
ประวัตส่วนตัว
มีชื่อว่า ฮัยฟะ
สกุล หะยีวานิ
วันเกิด 27 เมษา 39
อายุ 14ปี
มีพี่น้อง 4คน ดิฉันเป็นคนโตจร้า
ทีพัก 36/1 ม.4 ต.กาบัง อ.กาบัง จ.ยะลา
เวลาว่าง คุยกับเพื่อนๆ
กีฬาทีชอบ วอลเลย์บอล
สีทีชอบ ฟ้า ชมพู ส้ม
อาหารทีชอบ ราดหน้า
ผลไม้ติดปาก ส้ม
สิ่งทีขาดไม่ดัย กระจก เงิน
ความฝัน คุณครู จร้า
สิ่งทีประทับจัย ได้เรียนสถานทีเดียวกัน
คติประจำจัย ดีชั่ว อยู่ทีตัวทำ สูงต่ำ อยู่ทีทำตัว
สกุล หะยีวานิ
วันเกิด 27 เมษา 39
อายุ 14ปี
มีพี่น้อง 4คน ดิฉันเป็นคนโตจร้า
ทีพัก 36/1 ม.4 ต.กาบัง อ.กาบัง จ.ยะลา
เวลาว่าง คุยกับเพื่อนๆ
กีฬาทีชอบ วอลเลย์บอล
สีทีชอบ ฟ้า ชมพู ส้ม
อาหารทีชอบ ราดหน้า
ผลไม้ติดปาก ส้ม
สิ่งทีขาดไม่ดัย กระจก เงิน
ความฝัน คุณครู จร้า
สิ่งทีประทับจัย ได้เรียนสถานทีเดียวกัน
คติประจำจัย ดีชั่ว อยู่ทีตัวทำ สูงต่ำ อยู่ทีทำตัว
...........+++++++..........
ประวัติส่วนตัว
สกุล กาพอ
ชื่อเล่น เดีย
อายุ 15
วันเกิด 12 สิงหาคม 2538
สถานภาพ โสด
สุขภาพ แข็งแรง
ศาสนา อิสลาม
กำลังศึกษา อยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
สถาบันการศึกษา โรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยา
ภูมิลำเนา 6/3 หมู่ 2 ตำบล ลำใหม่ อำเภอ เมือง จังหวัด ยะลา 95160
อาหรสุดโปรด ต้มยำกุ้ง
สีที่ชอบ สีม่วง สีเขียว สีฟ้า
กีฬาที่ชอบ วอลเลย์บอล แบดมินตัน กรีฑานิสัย ร่าเริง แจ่มใส่ ไม่แคร์ใคร มั่นใจในตัวเอง
คำที่ชอบพูดบ่อย อะไรว่ะ
คำที่ชอบพูดบ่อย อะไรว่ะ
วิชาที่ชอบ คณิตศาสตร์ ( ไม่เกินความคิดของตัวเอง )
สถานที่ชอบเที่ยว ทะเล ( ลมพัดสบาย )
ยามว่างๆ ฟังเพลง ดูหนัง อ่านหนังสือ
ฝันใฝ่ ใฝ่ฝัน แพทย์หญิง/นักธุรกิจ
คติที่นับถือ อย่ากลัวในสิ่งที่ยังมาไม่ถึง จงทำวันนี้ให้ดีที่สุด
E-mail napooh.new@hotmail.com
facebook naris mee
โรงเรียนในฝัน.....ของฉัน
โรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยา 50/1 ม.2 ต.ปากล่อ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี 94180
ซึ่งโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่ฉันกำลังศึกษาอยู่ในตอนนี้
วิสัยทัศน์ : นักเรียนโรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยา มีความรู้ ความสามารถ ด้านวิชาศาสนา
วิชาสามัญ และวิชาชีพ มีคุณธรรม มีสุขพลานามัยที่สมบูรณ์ โรงเรียนสามารถจัดการศึกษา
ได้อย่างมีคุณภาพ
สีประจำโรงเรียน : สีม่วง สีขาว สีน้ำเงิน
อักษรย่อโรงเรียน : พ.ค.ว.
ปรัชญาโรงเรียน : มีความรู้ รู้ปฏิบัติ มุ่งพัฒนา
ประมวลภาพกิจกรรมต่างๆ ( ที่ฉันได้เข้าร่วม.. )
กีฬาเครือข่าย ครั้งที่ 5
เป็นการจัดการแข่งขันกีฬาต่างๆ ของโรงเรียนในโครงการตามพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตน-
ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีทั้งหมด 14 โรงเรียน ในปีล่าสุดนี้โรงเรียนพีระยานาวินคลองหิน-
วิทยาเป็นเจ้าภาพ และโรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยาก็ได้รับถ้วยพระราชทานฯเป็นครั้งที่ 3
ในปีการศึกษา 2553 ไปทัศนะศึกษาประเทศมาเลเซีย,กัวลาลัมเปอร์,ปุตราจายา,และเก็นติ้ง
ซึ่งโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่ฉันกำลังศึกษาอยู่ในตอนนี้
วิสัยทัศน์ : นักเรียนโรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยา มีความรู้ ความสามารถ ด้านวิชาศาสนา
วิชาสามัญ และวิชาชีพ มีคุณธรรม มีสุขพลานามัยที่สมบูรณ์ โรงเรียนสามารถจัดการศึกษา
ได้อย่างมีคุณภาพ
สีประจำโรงเรียน : สีม่วง สีขาว สีน้ำเงิน
อักษรย่อโรงเรียน : พ.ค.ว.
ปรัชญาโรงเรียน : มีความรู้ รู้ปฏิบัติ มุ่งพัฒนา
ประมวลภาพกิจกรรมต่างๆ ( ที่ฉันได้เข้าร่วม.. )
กีฬาเครือข่าย ครั้งที่ 5
เป็นการจัดการแข่งขันกีฬาต่างๆ ของโรงเรียนในโครงการตามพระราชดำริฯ สมเด็จพระเทพรัตน-
ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีทั้งหมด 14 โรงเรียน ในปีล่าสุดนี้โรงเรียนพีระยานาวินคลองหิน-
วิทยาเป็นเจ้าภาพ และโรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยาก็ได้รับถ้วยพระราชทานฯเป็นครั้งที่ 3
โครงการเรียนดีศรีพีระยา
โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อกระตุ้นนักเรียนให้ขยันเรียน และเป็นรางวัลแก่นักเรียนที่ขยันเรียน
ที่ได้เกรดสูงๆ ติดอันดับของโรงเรียน ได้ไปทัศนะศึกษาฟรีทุกปี
ในปีการศึกษา 2552 ไปทัศนะศึกษากรุงเทพฯและอรัญประเทศ จ.สระแก้ว
ค่ายวิทยาศาสตร์
ในช่วงปิดเทอมมีการเข้าค่ายต่างๆ และนี้ก็เป็นส่วนหนึ่งของค่ายวิทยาศาสตร์
ณ อุทยานแห่งชาติ หว้ากอ
กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์
ไปเยี่ยมและบริจาคของแก่ผู้ประสบอุทกภัยน้ำท่วมที่ดาโต๊ะ จ.ปัตตานี
กิจกรรมอารุวะห์บูยา
เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อรำลึกถึงผู้มีพระคุณ ที่ได้สร้างโรงเรียนพีระยานาวินคลองหินวิทยาขึ้น
ทำให้เราเรียนได้จนถึงทุกวันนี้
กิจกรรมฮัฟละห์ ( รับน้องใหม่ )
กิจกรรมนี้จัดขึ้นทุกปีเพื่อต้อนรับน้องใหม่ และทำความรู้จักกับน้องใหม่
โดยสภานักเรียนเป็นผู้ควบคุมงานทั้งหมด
กิจกรรมต้อนรับปีใหม่อิสลาม
กิจกรรมนี้มีการจัดขึ้นทุกปี พิเศษในปีนี้ โดยช่วงเช้ามีการบรรยายถึงประวัติความเป็นมาของปีใหม่
อิสลาม และช่วงบ่ายมีการเชิญวงสามพี่น้องโต๊ะบานามาขับร้องอานาซีดเพื่อความเพลิดเพลิน
กิจกรรมสหกรณ์
กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมของโรงเรียน โดยมีนักเรียนเป็นผู้บริหารงานทั้งหมด และในปีการศึกษา
2553 คณะกรรมการสหกรณ์ของโรงเรียนก็ได้ไปดูงานที่ จ. สตูล
ผลงานของ....ฉันและเพื่อนๆ ( ม.3/2 )
เพื่อนร่วมห้อง ( 3/2 )
จบแล้วจ้า................... ^_^ ^_^
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)